PDA

แสดงเวอร์ชันเต็ม : เกี่ยวกับช่วงล่างไทรทัน พลัส



Goo_AOF@hotmail.com
03-08-2012, 22:00
ไทรทัน พลัส 4 ประตูธรรมดาควรปรับเปลี่ยนช่วงล่างยังไงบ้างหรือเปล่าครับ เพราะมันส่ายๆยัังไงไม่รู้ครับ:kapook-17197-2309:

Mou
03-08-2012, 22:07
ลองตั้ศูนย์ใหม่หรือยังครับ
รอผู้เชี่ยวชาญครับ:91 2:

coppy42
04-08-2012, 14:30
เช็คลมใหม่เลยครับ ออกมาใหม่ๆลมไม่เท่ากันสักล้อนึง เอาแค่34-35พอล่ะ
ด้านหลังหาโช๊คใหม่ที่โตขึ้นมาใส่แทนตัวเดิม อาการจะเชื่องขึ้นมาเห็นๆครับ

rmd
04-08-2012, 15:09
ร่อนๆเนี่ย พอจะเหลาเพิ่มได้มั๊ยคะ ช่วงไหนมั่ง เช่น วิ่งรูดผ่านเนินชลอความเร็วในซอยด้วยความเร็วพอประมาณแล้วร่อน......วิ่งด้วยความเร็วบนทางด่วน โดนรถใหญ่แซง(แซงรถใหญ่)แล้วแถๆหน้าเหมือนจะวูบเล็กหรือแถหน่อยๆ......วิ่งบนทางยกระดับ(ด่วนบางนา-ชลบุรี)ด้วยความเร็วเกิน120แล้วเหมือนร่อนๆโคลงควบคุมรถไม่อยู่.............วิ่งซิกแซกบนถนนหรือเปลี่ยนเลนกระทันหันควยคุมรถลำบากเหมือนร่อนๆ.........วิ่งผ่านรอนเล็กๆที่ใช้เตือนเมื่อกำฝังจะเข้าโค้งหรือหลุมตื้นๆต่อเนื่องด้วยความเร็วพอประมาณแล้วร่อน คร่าวๆนะคะจะได้ตีวงปัญหาเข้ามาค่ะ

num_navanakorn
04-08-2012, 15:26
ร่อนๆเนี่ย พอจะเหลาเพิ่มได้มั๊ยคะ ช่วงไหนมั่ง เช่น วิ่งรูดผ่านเนินชลอความเร็วในซอยด้วยความเร็วพอประมาณแล้วร่อน......วิ่งด้วยความเร็วบนทางด่วน โดนรถใหญ่แซง(แซงรถใหญ่)แล้วแถๆหน้าเหมือนจะวูบเล็กหรือแถหน่อยๆ......วิ่งบนทางยกระดับ(ด่วนบางนา-ชลบุรี)ด้วยความเร็วเกิน120แล้วเหมือนร่อนๆโคลงควบคุมรถไม่อยู่............เป.วิ่งซิกแซกบนถนนหรือลี่ยนเลนกระทันหันควยคุมรถลำบากเหมือนร่อนๆ.........วิ่งผ่านรอนเล็กๆที่ใช้เตือนเมื่อกำฝังจะเข้าโค้งหรือหลุมตื้นๆต่อเนื่องด้วยความเร็วพอประมาณแล้วร่อน คร่าวๆนะคะจะได้ตีวงปัญหาเข้ามาค่ะ
สุดยอดครับ...

รณรงค์
04-08-2012, 16:01
ถ้าเรื่องศูนย์ลองขับซัก 80 ทางตรงแล้วเบรคดูครับ..ถ้าดึงๆ คงต้องตั้งศูนย์ใหม่..(หังเค้ามาอีกทีครับ..)

Goo_AOF@hotmail.com
04-08-2012, 22:26
ร่อนๆเนี่ย พอจะเหลาเพิ่มได้มั๊ยคะ ช่วงไหนมั่ง เช่น วิ่งรูดผ่านเนินชลอความเร็วในซอยด้วยความเร็วพอประมาณแล้วร่อน......วิ่งด้วยความเร็วบนทางด่วน โดนรถใหญ่แซง(แซงรถใหญ่)แล้วแถๆหน้าเหมือนจะวูบเล็กหรือแถหน่อยๆ......วิ่งบนทางยกระดับ(ด่วนบางนา-ชลบุรี)ด้วยความเร็วเกิน120แล้วเหมือนร่อนๆโคลงควบคุมรถไม่อยู่.............วิ่งซิกแซกบนถนนหรือเปลี่ยนเลนกระทันหันควยคุมรถลำบากเหมือนร่อนๆ.........วิ่งผ่านรอนเล็กๆที่ใช้เตือนเมื่อกำฝังจะเข้าโค้งหรือหลุมตื้นๆต่อเนื่องด้วยความเร็วพอประมาณแล้วร่อน คร่าวๆนะคะจะได้ตีวงปัญหาเข้ามาค่ะ
เป็นแบบวิ่งผ่านรอนเล็กๆที่ใช้เตือนเมื่อกำฝังจะเข้าโค้งหรือหลุมตื้นๆต่อเนื่องด้วยความเร็วพอประมาณแล้วร่อนก็เป็น วิ่งบนทางด้วยความเร็วเกิน120แล้วเหมือนร่อนๆโคลงควบคุมรถไม่อยู่ก็เป็นครับ:emo014hv3:

rmd
05-08-2012, 00:42
เป็นแบบวิ่งผ่านรอนเล็กๆที่ใช้เตือนเมื่อกำฝังจะเข้าโค้งหรือหลุมตื้นๆต่อเนื่องด้วยความเร็วพอประมาณแล้วร่อนก็เป็น วิ่งบนทางด้วยความเร็วเกิน120แล้วเหมือนร่อนๆโคลงควบคุมรถไม่อยู่ก็เป็นครับ:emo014hv3:
เอาหล่ะค่ะแบบนี้ก็ไม่ต้องพากันออกทะเลละ
ร่อนหรือแถหรือรู้สึกว่าท้ายรถอยู่เหนือการควบคุมชั่วขณะเมื่อผ่านรอนเตี้ยๆต่อเนื่องบนผิวทาง...........ก่อนอื่นต้องขอโฟกัสไปที่ช๊อคอัพก่อนเลยค่ะซึ่งจำเลยร่วมกันมีทั้งหน้าและหลัง คืองี๊ค่ะเวลาที่เราผ่านรอนเตี้ยๆหรือหลุมตื้นๆด้วยความเร็วด้านหน้าซึ่งใช้สปริงเป็นตัวรับนน.จะคอยต้านแรงประทะที่ส่งขึ้นมาผ่านล้อหน้าและปีกนกเมื่อยุบก็ต้องมียืด ยุบเร็วยืดเร็วตัวรถก็รักษาระดับอยู่ได้แต่ถ้ายุบช้าก็กลายเป็นเด้งยืดช้าก๊กลายเป็นกระแทก ซึ่งกระบวนการพวกนี้เกิดขึ้นในช่วงเวลาอันสั้นมากและที่มากไปกว่านั้นการเต้นดังกล่าวเกิดขึ้นแบบไม่เท่ากันระหว่างซ้าย-ขวาตามสภาพถนนและความเร็วามี่เข้าประทะ อาการเต้นของช่วงล่างด้านหน้าจนส่งผลให้ควบคุมรถได้ยากจึงเกิดมาจากสมรรถนะยองช๊อคอัพไม่สามารถรองรับการดีดของสปริงได้ทัน ส่วนด้านหลังที่เป็นแบบคานแข็งรองรับน้ำหนักด้วยแหนบแผ่นซ้อน..........ลักษณะทางกายภาพของแหนบคือต้านการหดตัวด้วยคุณสมบัริความเป็นสปริง แหนบทีทำงานได้ดีต้องมีความโค้งพอที่จะรองรับนน.เมื่อเข้ามากดชั่วขณะและต้านด้วยการดีดกลับสู่ตำแหน่งเดิมได้ ดังนั้นความโค้งจึงสำคัญปัญหาที่พบเมื่อใช้ความเร็วผ่านรอนถนนเตี้ยๆหรือหลุมต่อเนื่องจนทำให้ท้ายเกิดอาการแถจนรู้สึกได้หรือร้ายหน่อยตรงสูญเสียการควบคุม นอกจากสมรรถนะของช๊อคอัพและระยะยุบยืดของแหนบ(รถที่ดัดแปลงช่วงล่างหรือรถที่ผ่านการใช้งานมามากจะชัดเจน) ก็จะมีอีกปัจจัยคือการเคลื่อนตัวของเพลาทั้งแนวดิ่งและแนวนอน กล่าวคือในระหว่างการเคลื่อนที่เพลาจะถูกแขวนอยึ่บนแหนบแผ่นซึ่งปลายด้านนึงของแหนบอยู่บนจุดหมุนที่ควบคุมตำแหน่งเอาไว้ แต่ปลายอีกด้านนึงเป็นแบบกึ่งอิสระ กล่าวคือเมื่อเพลาเคลื่อนที่ขึ้นลงเนื่องจากการประทะผิวถนนยองล้อแหนบจะยืดหดตัวโดยมีโตงเตงควบคุมความเป็นอิสระเอาไว้ เพลาเมื่อดูเผินๆจะคล้ายกับการเคลื่อนที่ของตุ้มนาฟิกาแต่ต่างกันตรงตุ้มนาฟิกาจะหมุนรอบแกนด้วยระยะเดียวแต่เพลาจะหมุนรอบแกน(หูแหนบหน้า)ในลักษตะยืดเข้าออกตลอดเวลา ทีนี้ลองมองภาพการเคลื่อนที่ของเพลาทั้งสองด้านแบบสามมิติดูค่ะ ยิ่งสภาพถนนต่างกันระหว่างซ้าย-ขวาลักษณะการเคลื่อนที่ดังกล่าว"จึงคล้ายกับการเต้นไปมาระหว่างปลายเพลาทั้งสองฝั่ง" ซึงหน้าสัมผัสของยางกับถนนมีผลโดยตรงกับการยึดเกาะถนนอย่างที่เรารู้ๆกันใช่มั๊ยคะ ลองนึกเล่นๆตามนะคะ หน้ายางทีแต่เดิมเคยเรียบสัมผัสถนนกลับถูกดึง(ยก)จนเหลือพื้นที่ไม่เท่าไหร่กับผิวถนนเนื่องจากการเคลื่อนที่ตามลักษณะเพลาแข็ง กระบวนการดังกล่าวเกิดขึ้นซ้ำๆอย่างรวดเร็วทั้งซ้ายและขวา การแถหรือร่อนจึงมาจากตรงนี้ ถ้าเราเนย้าไปควบคุมความ(กึ่ง)อิสระของเพลาเช่นบังคับให้มันขั้นลงเป็นแนวดิ่งอย่างเดียวโดยไม่ยอมให้ขยับเดินหน้าหรือถอยหลัง...ทำได้ไหม ทำได้ค่ะนั่นคือรูปแบบของระบบคานแข็งกึ่งอิสระรองรับน้ำหนักด้วยสปริงซึ่งประสิทธิภาพอาจแตกต่างกันแม้หน้าตาจะเหมือนกันเช่นปาร์เจโรสปอร์ตกับฟอร์จูนเนอร์เป็นต้น ฟุ้งไปไกลเลย55555 วิศวกรของมาสดา(ฟอร์ด)ก็เลยคิดว่าทำไงให้แหนบที่เต้นอยึ่แลเพลาที่ขยับตำแหน่งไปมาเนี่ยมันควบคุมได้บ้าง.....ก็เลยเป็นที่มาของเหล็กกันโคลง(สเตบิไลซ์เซอร์ บาร์)ใส่ไว้เพื่อคอยรั้งและดึงให้เพลาอีกข้างขยับตามหรือสร้างแรงกดให้ปลายเพลาอีกฝั่งนึงในทิศทางตรงกันข้ามนั่นเอง สำหรับคนไทยเราก็ใบ่ย่อยด้วยความช่างสังเกตุ....เอแบบนี้ลอกเอาอุปกรณ์ของระบบคานแข็งกึ่งอิสระมาใช้ได้มั๊ย โดยยังคงการรับน้ำหนักด้วยแหนบแผ่นเหมือนเดิม นั่นคือจุดเริ่มต้นของ"ทวินอาร์ม) แต่เดิมระบบคานแข็งกึ่งอิสระจะประกอบไปด้วย"ทอร์คอาร์ม" "สเตบอไลซ์เซอร์บาร์(เหล็กกันโคลง)" "ปังอาร์ร๊อด" ซึ่งทั้งสามตัวมีการนำมาใช้ในระบบแหนบทั้งหมด.....ทอร์คอาร์มหลักการทำงานก็พยายามรักษาการเคลื่อนที่รอบจุดหมุนเอาไว้ซึ่งในระบบแหนบก็จะมีแหนบและหึแหนบด้านฟกน้าทำหน้าที่อยู่แล้ว ติดตั้งซ้ำซ้อนเข้าไปจะทำงานขัดกันซะปล่าวๆ อาจารย์ตู่เลยจับกลับหัวมาไว้ด้านหลังซะเลยดัดแปลงจุดยึดด้านหลังซะใฟกม่โดยกำหนดองศาตามโตงเตงจังกลายมาเป็นแทรคชั่นบาร์(อันนี้สามีเรียกนะคะ)สังเกตุได้รถจากสำนักนี้เค้นช่วงล่างเดิมๆไม่เกิน3นิ้วโดดปุ๊บไม่มีเป่..เพียงแต่วต้องแลกกับความกระด้างบ้างเนื่องจากแหนบให้ตัวไม่อิสระ ส่วน"ปังอาร์ร๊อด"ที่มีสภาพเหมือนไม้ค้ำยันระหว่างเพลาด้านนึงกับแคสซี พอจะนึกภาพออกมั๊ยเอ่ย ก็เลยเป็นที่มาของเหล็กแท่งๆที่มีสปริงและช๊อคคอยต้านเอาไว้เอามาริดทแยงมุมแบบเดียวกันนั่นแหละค่ะ.........รวมๆที่ฟุ้งมาซะไกลไม่ใช่อะไรหรอกนะคะ สามี(คนต้นเรื่อง)พยายามจะจำลองการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกันให้เห็นด้วยตัวหนังสือ(พิมพ์จนมึน)เพื่อที่เวลาจะเสริมสมรรถนะอะไรเข้าไปจะได้ไม่หลงสมางลงทุ่งออกทะเล. ?..................ปัญหาของจขกท.ก็ไม่มีไรมากหรอกค่ะ ถ้าชอบหรือพอใจยางขนาดนี้(หรือชุดนี้)การแก้ปัญหาหรือทุเลาปัญหาก็มีไม่มากและไม่ยุ่งยากค่ะ
1. ตรวจเช๊คลมยางและตำแหน่งของช่วงล่างด้วยการปรับตั้งศูนย์ล้อเมื่อพบว่านยับขี่ผิดปกติหรือได้ระยะเวลา
2. หาช๊อคดีที่มีค่าคอมเพรสและรีบราวน์ที่มากกว่าเดิมเปลี่ยนแทนของเดิมติดรถ
เพียงแค่นี้ก่อนแล้วลองดูความพึงพอใจระหว่างใช้งาน ซึ่งหนทางยังมีอีกยาวค่ะ ไม่ว่าจะยกขึ้นอีกหน่อย เปลี่ยนแมกซ์เปลี่ยนยาง ซึ่งปัจจัยแวดล้อมพวกนี้มีผลโดยตรงทั้งสิ้นกับการ"ทำรถ"............ขอให้มีความสุขกับการ"ทำ"และ"ใช้รถ"นะคะ ขอบคุณที่ทนอ่านมาตั้งนานค่ะ5555555

kamyu
05-08-2012, 09:14
ตาลาย

ae007
05-08-2012, 09:55
:67 2:

thanaruk
05-08-2012, 12:13
ตาลาย

the lord
05-08-2012, 13:46
เอาหล่ะค่ะแบบนี้ก็ไม่ต้องพากันออกทะเลละ
ร่อนหรือแถหรือรู้สึกว่าท้ายรถอยู่เหนือการควบคุมชั่วขณะเมื่อผ่านรอนเตี้ยๆต่อเนื่องบนผิวทาง...........ก่อนอื่นต้องขอโฟกัสไปที่ช๊อคอัพก่อนเลยค่ะซึ่งจำเลยร่วมกันมีทั้งหน้าและหลัง คืองี๊ค่ะเวลาที่เราผ่านรอนเตี้ยๆหรือหลุมตื้นๆด้วยความเร็วด้านหน้าซึ่งใช้สปริงเป็นตัวรับนน.จะคอยต้านแรงประทะที่ส่งขึ้นมาผ่านล้อหน้าและปีกนกเมื่อยุบก็ต้องมียืด ยุบเร็วยืดเร็วตัวรถก็รักษาระดับอยู่ได้แต่ถ้ายุบช้าก็กลายเป็นเด้งยืดช้าก๊กลายเป็นกระแทก ซึ่งกระบวนการพวกนี้เกิดขึ้นในช่วงเวลาอันสั้นมากและที่มากไปกว่านั้นการเต้นดังกล่าวเกิดขึ้นแบบไม่เท่ากันระหว่างซ้าย-ขวาตามสภาพถนนและความเร็วามี่เข้าประทะ อาการเต้นของช่วงล่างด้านหน้าจนส่งผลให้ควบคุมรถได้ยากจึงเกิดมาจากสมรรถนะยองช๊อคอัพไม่สามารถรองรับการดีดของสปริงได้ทัน ส่วนด้านหลังที่เป็นแบบคานแข็งรองรับน้ำหนักด้วยแหนบแผ่นซ้อน..........ลักษณะทางกายภาพของแหนบคือต้านการหดตัวด้วยคุณสมบัริความเป็นสปริง แหนบทีทำงานได้ดีต้องมีความโค้งพอที่จะรองรับนน.เมื่อเข้ามากดชั่วขณะและต้านด้วยการดีดกลับสู่ตำแหน่งเดิมได้ ดังนั้นความโค้งจึงสำคัญปัญหาที่พบเมื่อใช้ความเร็วผ่านรอนถนนเตี้ยๆหรือหลุมต่อเนื่องจนทำให้ท้ายเกิดอาการแถจนรู้สึกได้หรือร้ายหน่อยตรงสูญเสียการควบคุม นอกจากสมรรถนะของช๊อคอัพและระยะยุบยืดของแหนบ(รถที่ดัดแปลงช่วงล่างหรือรถที่ผ่านการใช้งานมามากจะชัดเจน) ก็จะมีอีกปัจจัยคือการเคลื่อนตัวของเพลาทั้งแนวดิ่งและแนวนอน กล่าวคือในระหว่างการเคลื่อนที่เพลาจะถูกแขวนอยึ่บนแหนบแผ่นซึ่งปลายด้านนึงของแหนบอยู่บนจุดหมุนที่ควบคุมตำแหน่งเอาไว้ แต่ปลายอีกด้านนึงเป็นแบบกึ่งอิสระ กล่าวคือเมื่อเพลาเคลื่อนที่ขึ้นลงเนื่องจากการประทะผิวถนนยองล้อแหนบจะยืดหดตัวโดยมีโตงเตงควบคุมความเป็นอิสระเอาไว้ เพลาเมื่อดูเผินๆจะคล้ายกับการเคลื่อนที่ของตุ้มนาฟิกาแต่ต่างกันตรงตุ้มนาฟิกาจะหมุนรอบแกนด้วยระยะเดียวแต่เพลาจะหมุนรอบแกน(หูแหนบหน้า)ในลักษตะยืดเข้าออกตลอดเวลา ทีนี้ลองมองภาพการเคลื่อนที่ของเพลาทั้งสองด้านแบบสามมิติดูค่ะ ยิ่งสภาพถนนต่างกันระหว่างซ้าย-ขวาลักษณะการเคลื่อนที่ดังกล่าว"จึงคล้ายกับการเต้นไปมาระหว่างปลายเพลาทั้งสองฝั่ง" ซึงหน้าสัมผัสของยางกับถนนมีผลโดยตรงกับการยึดเกาะถนนอย่างที่เรารู้ๆกันใช่มั๊ยคะ ลองนึกเล่นๆตามนะคะ หน้ายางทีแต่เดิมเคยเรียบสัมผัสถนนกลับถูกดึง(ยก)จนเหลือพื้นที่ไม่เท่าไหร่กับผิวถนนเนื่องจากการเคลื่อนที่ตามลักษณะเพลาแข็ง กระบวนการดังกล่าวเกิดขึ้นซ้ำๆอย่างรวดเร็วทั้งซ้ายและขวา การแถหรือร่อนจึงมาจากตรงนี้ ถ้าเราเนย้าไปควบคุมความ(กึ่ง)อิสระของเพลาเช่นบังคับให้มันขั้นลงเป็นแนวดิ่งอย่างเดียวโดยไม่ยอมให้ขยับเดินหน้าหรือถอยหลัง...ทำได้ไหม ทำได้ค่ะนั่นคือรูปแบบของระบบคานแข็งกึ่งอิสระรองรับน้ำหนักด้วยสปริงซึ่งประสิทธิภาพอาจแตกต่างกันแม้หน้าตาจะเหมือนกันเช่นปาร์เจโรสปอร์ตกับฟอร์จูนเนอร์เป็นต้น ฟุ้งไปไกลเลย55555 วิศวกรของมาสดา(ฟอร์ด)ก็เลยคิดว่าทำไงให้แหนบที่เต้นอยึ่แลเพลาที่ขยับตำแหน่งไปมาเนี่ยมันควบคุมได้บ้าง.....ก็เลยเป็นที่มาของเหล็กกันโคลง(สเตบิไลซ์เซอร์ บาร์)ใส่ไว้เพื่อคอยรั้งและดึงให้เพลาอีกข้างขยับตามหรือสร้างแรงกดให้ปลายเพลาอีกฝั่งนึงในทิศทางตรงกันข้ามนั่นเอง สำหรับคนไทยเราก็ใบ่ย่อยด้วยความช่างสังเกตุ....เอแบบนี้ลอกเอาอุปกรณ์ของระบบคานแข็งกึ่งอิสระมาใช้ได้มั๊ย โดยยังคงการรับน้ำหนักด้วยแหนบแผ่นเหมือนเดิม นั่นคือจุดเริ่มต้นของ"ทวินอาร์ม) แต่เดิมระบบคานแข็งกึ่งอิสระจะประกอบไปด้วย"ทอร์คอาร์ม" "สเตบอไลซ์เซอร์บาร์(เหล็กกันโคลง)" "ปังอาร์ร๊อด" ซึ่งทั้งสามตัวมีการนำมาใช้ในระบบแหนบทั้งหมด.....ทอร์คอาร์มหลักการทำงานก็พยายามรักษาการเคลื่อนที่รอบจุดหมุนเอาไว้ซึ่งในระบบแหนบก็จะมีแหนบและหึแหนบด้านฟกน้าทำหน้าที่อยู่แล้ว ติดตั้งซ้ำซ้อนเข้าไปจะทำงานขัดกันซะปล่าวๆ อาจารย์ตู่เลยจับกลับหัวมาไว้ด้านหลังซะเลยดัดแปลงจุดยึดด้านหลังซะใฟกม่โดยกำหนดองศาตามโตงเตงจังกลายมาเป็นแทรคชั่นบาร์(อันนี้สามีเรียกนะคะ)สังเกตุได้รถจากสำนักนี้เค้นช่วงล่างเดิมๆไม่เกิน3นิ้วโดดปุ๊บไม่มีเป่..เพียงแต่วต้องแลกกับความกระด้างบ้างเนื่องจากแหนบให้ตัวไม่อิสระ ส่วน"ปังอาร์ร๊อด"ที่มีสภาพเหมือนไม้ค้ำยันระหว่างเพลาด้านนึงกับแคสซี พอจะนึกภาพออกมั๊ยเอ่ย ก็เลยเป็นที่มาของเหล็กแท่งๆที่มีสปริงและช๊อคคอยต้านเอาไว้เอามาริดทแยงมุมแบบเดียวกันนั่นแหละค่ะ.........รวมๆที่ฟุ้งมาซะไกลไม่ใช่อะไรหรอกนะคะ สามี(คนต้นเรื่อง)พยายามจะจำลองการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกันให้เห็นด้วยตัวหนังสือ(พิมพ์จนมึน)เพื่อที่เวลาจะเสริมสมรรถนะอะไรเข้าไปจะได้ไม่หลงสมางลงทุ่งออกทะเล. ?..................ปัญหาของจขกท.ก็ไม่มีไรมากหรอกค่ะ ถ้าชอบหรือพอใจยางขนาดนี้(หรือชุดนี้)การแก้ปัญหาหรือทุเลาปัญหาก็มีไม่มากและไม่ยุ่งยากค่ะ
1. ตรวจเช๊คลมยางและตำแหน่งของช่วงล่างด้วยการปรับตั้งศูนย์ล้อเมื่อพบว่านยับขี่ผิดปกติหรือได้ระยะเวลา
2. หาช๊อคดีที่มีค่าคอมเพรสและรีบราวน์ที่มากกว่าเดิมเปลี่ยนแทนของเดิมติดรถ
เพียงแค่นี้ก่อนแล้วลองดูความพึงพอใจระหว่างใช้งาน ซึ่งหนทางยังมีอีกยาวค่ะ ไม่ว่าจะยกขึ้นอีกหน่อย เปลี่ยนแมกซ์เปลี่ยนยาง ซึ่งปัจจัยแวดล้อมพวกนี้มีผลโดยตรงทั้งสิ้นกับการ"ทำรถ"............ขอให้มีความสุขกับการ"ทำ"และ"ใช้รถ"นะคะ ขอบคุณที่ทนอ่านมาตั้งนานค่ะ5555555สุดยอด

3T_MUN_D
05-08-2012, 21:40
ยังไม่ได้อ่านครับ ขอก๊อบไปวางไว้ก่อน เด่วค่อยอ่าน

Goo_AOF@hotmail.com
05-08-2012, 21:46
เอาหล่ะค่ะแบบนี้ก็ไม่ต้องพากันออกทะเลละ
ร่อนหรือแถหรือรู้สึกว่าท้ายรถอยู่เหนือการควบคุมชั่วขณะเมื่อผ่านรอนเตี้ยๆต่อเนื่องบนผิวทาง...........ก่อนอื่นต้องขอโฟกัสไปที่ช๊อคอัพก่อนเลยค่ะซึ่งจำเลยร่วมกันมีทั้งหน้าและหลัง คืองี๊ค่ะเวลาที่เราผ่านรอนเตี้ยๆหรือหลุมตื้นๆด้วยความเร็วด้านหน้าซึ่งใช้สปริงเป็นตัวรับนน.จะคอยต้านแรงประทะที่ส่งขึ้นมาผ่านล้อหน้าและปีกนกเมื่อยุบก็ต้องมียืด ยุบเร็วยืดเร็วตัวรถก็รักษาระดับอยู่ได้แต่ถ้ายุบช้าก็กลายเป็นเด้งยืดช้าก๊กลายเป็นกระแทก ซึ่งกระบวนการพวกนี้เกิดขึ้นในช่วงเวลาอันสั้นมากและที่มากไปกว่านั้นการเต้นดังกล่าวเกิดขึ้นแบบไม่เท่ากันระหว่างซ้าย-ขวาตามสภาพถนนและความเร็วามี่เข้าประทะ อาการเต้นของช่วงล่างด้านหน้าจนส่งผลให้ควบคุมรถได้ยากจึงเกิดมาจากสมรรถนะยองช๊อคอัพไม่สามารถรองรับการดีดของสปริงได้ทัน ส่วนด้านหลังที่เป็นแบบคานแข็งรองรับน้ำหนักด้วยแหนบแผ่นซ้อน..........ลักษณะทางกายภาพของแหนบคือต้านการหดตัวด้วยคุณสมบัริความเป็นสปริง แหนบทีทำงานได้ดีต้องมีความโค้งพอที่จะรองรับนน.เมื่อเข้ามากดชั่วขณะและต้านด้วยการดีดกลับสู่ตำแหน่งเดิมได้ ดังนั้นความโค้งจึงสำคัญปัญหาที่พบเมื่อใช้ความเร็วผ่านรอนถนนเตี้ยๆหรือหลุมต่อเนื่องจนทำให้ท้ายเกิดอาการแถจนรู้สึกได้หรือร้ายหน่อยตรงสูญเสียการควบคุม นอกจากสมรรถนะของช๊อคอัพและระยะยุบยืดของแหนบ(รถที่ดัดแปลงช่วงล่างหรือรถที่ผ่านการใช้งานมามากจะชัดเจน) ก็จะมีอีกปัจจัยคือการเคลื่อนตัวของเพลาทั้งแนวดิ่งและแนวนอน กล่าวคือในระหว่างการเคลื่อนที่เพลาจะถูกแขวนอยึ่บนแหนบแผ่นซึ่งปลายด้านนึงของแหนบอยู่บนจุดหมุนที่ควบคุมตำแหน่งเอาไว้ แต่ปลายอีกด้านนึงเป็นแบบกึ่งอิสระ กล่าวคือเมื่อเพลาเคลื่อนที่ขึ้นลงเนื่องจากการประทะผิวถนนยองล้อแหนบจะยืดหดตัวโดยมีโตงเตงควบคุมความเป็นอิสระเอาไว้ เพลาเมื่อดูเผินๆจะคล้ายกับการเคลื่อนที่ของตุ้มนาฟิกาแต่ต่างกันตรงตุ้มนาฟิกาจะหมุนรอบแกนด้วยระยะเดียวแต่เพลาจะหมุนรอบแกน(หูแหนบหน้า)ในลักษตะยืดเข้าออกตลอดเวลา ทีนี้ลองมองภาพการเคลื่อนที่ของเพลาทั้งสองด้านแบบสามมิติดูค่ะ ยิ่งสภาพถนนต่างกันระหว่างซ้าย-ขวาลักษณะการเคลื่อนที่ดังกล่าว"จึงคล้ายกับการเต้นไปมาระหว่างปลายเพลาทั้งสองฝั่ง" ซึงหน้าสัมผัสของยางกับถนนมีผลโดยตรงกับการยึดเกาะถนนอย่างที่เรารู้ๆกันใช่มั๊ยคะ ลองนึกเล่นๆตามนะคะ หน้ายางทีแต่เดิมเคยเรียบสัมผัสถนนกลับถูกดึง(ยก)จนเหลือพื้นที่ไม่เท่าไหร่กับผิวถนนเนื่องจากการเคลื่อนที่ตามลักษณะเพลาแข็ง กระบวนการดังกล่าวเกิดขึ้นซ้ำๆอย่างรวดเร็วทั้งซ้ายและขวา การแถหรือร่อนจึงมาจากตรงนี้ ถ้าเราเนย้าไปควบคุมความ(กึ่ง)อิสระของเพลาเช่นบังคับให้มันขั้นลงเป็นแนวดิ่งอย่างเดียวโดยไม่ยอมให้ขยับเดินหน้าหรือถอยหลัง...ทำได้ไหม ทำได้ค่ะนั่นคือรูปแบบของระบบคานแข็งกึ่งอิสระรองรับน้ำหนักด้วยสปริงซึ่งประสิทธิภาพอาจแตกต่างกันแม้หน้าตาจะเหมือนกันเช่นปาร์เจโรสปอร์ตกับฟอร์จูนเนอร์เป็นต้น ฟุ้งไปไกลเลย55555 วิศวกรของมาสดา(ฟอร์ด)ก็เลยคิดว่าทำไงให้แหนบที่เต้นอยึ่แลเพลาที่ขยับตำแหน่งไปมาเนี่ยมันควบคุมได้บ้าง.....ก็เลยเป็นที่มาของเหล็กกันโคลง(สเตบิไลซ์เซอร์ บาร์)ใส่ไว้เพื่อคอยรั้งและดึงให้เพลาอีกข้างขยับตามหรือสร้างแรงกดให้ปลายเพลาอีกฝั่งนึงในทิศทางตรงกันข้ามนั่นเอง สำหรับคนไทยเราก็ใบ่ย่อยด้วยความช่างสังเกตุ....เอแบบนี้ลอกเอาอุปกรณ์ของระบบคานแข็งกึ่งอิสระมาใช้ได้มั๊ย โดยยังคงการรับน้ำหนักด้วยแหนบแผ่นเหมือนเดิม นั่นคือจุดเริ่มต้นของ"ทวินอาร์ม) แต่เดิมระบบคานแข็งกึ่งอิสระจะประกอบไปด้วย"ทอร์คอาร์ม" "สเตบอไลซ์เซอร์บาร์(เหล็กกันโคลง)" "ปังอาร์ร๊อด" ซึ่งทั้งสามตัวมีการนำมาใช้ในระบบแหนบทั้งหมด.....ทอร์คอาร์มหลักการทำงานก็พยายามรักษาการเคลื่อนที่รอบจุดหมุนเอาไว้ซึ่งในระบบแหนบก็จะมีแหนบและหึแหนบด้านฟกน้าทำหน้าที่อยู่แล้ว ติดตั้งซ้ำซ้อนเข้าไปจะทำงานขัดกันซะปล่าวๆ อาจารย์ตู่เลยจับกลับหัวมาไว้ด้านหลังซะเลยดัดแปลงจุดยึดด้านหลังซะใฟกม่โดยกำหนดองศาตามโตงเตงจังกลายมาเป็นแทรคชั่นบาร์(อันนี้สามีเรียกนะคะ)สังเกตุได้รถจากสำนักนี้เค้นช่วงล่างเดิมๆไม่เกิน3นิ้วโดดปุ๊บไม่มีเป่..เพียงแต่วต้องแลกกับความกระด้างบ้างเนื่องจากแหนบให้ตัวไม่อิสระ ส่วน"ปังอาร์ร๊อด"ที่มีสภาพเหมือนไม้ค้ำยันระหว่างเพลาด้านนึงกับแคสซี พอจะนึกภาพออกมั๊ยเอ่ย ก็เลยเป็นที่มาของเหล็กแท่งๆที่มีสปริงและช๊อคคอยต้านเอาไว้เอามาริดทแยงมุมแบบเดียวกันนั่นแหละค่ะ.........รวมๆที่ฟุ้งมาซะไกลไม่ใช่อะไรหรอกนะคะ สามี(คนต้นเรื่อง)พยายามจะจำลองการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกันให้เห็นด้วยตัวหนังสือ(พิมพ์จนมึน)เพื่อที่เวลาจะเสริมสมรรถนะอะไรเข้าไปจะได้ไม่หลงสมางลงทุ่งออกทะเล. ?..................ปัญหาของจขกท.ก็ไม่มีไรมากหรอกค่ะ ถ้าชอบหรือพอใจยางขนาดนี้(หรือชุดนี้)การแก้ปัญหาหรือทุเลาปัญหาก็มีไม่มากและไม่ยุ่งยากค่ะ
1. ตรวจเช๊คลมยางและตำแหน่งของช่วงล่างด้วยการปรับตั้งศูนย์ล้อเมื่อพบว่านยับขี่ผิดปกติหรือได้ระยะเวลา
2. หาช๊อคดีที่มีค่าคอมเพรสและรีบราวน์ที่มากกว่าเดิมเปลี่ยนแทนของเดิมติดรถ
เพียงแค่นี้ก่อนแล้วลองดูความพึงพอใจระหว่างใช้งาน ซึ่งหนทางยังมีอีกยาวค่ะ ไม่ว่าจะยกขึ้นอีกหน่อย เปลี่ยนแมกซ์เปลี่ยนยาง ซึ่งปัจจัยแวดล้อมพวกนี้มีผลโดยตรงทั้งสิ้นกับการ"ทำรถ"............ขอให้มีความสุขกับการ"ทำ"และ"ใช้รถ"นะคะ ขอบคุณที่ทนอ่านมาตั้งนานค่ะ5555555
ขอบคุณครับ จะค่อยๆทำดูครับ:Banane17::Banane17:

aof .
05-08-2012, 22:00
กว่าจะอ่านจบแทบแย่

rmd
05-08-2012, 22:18
กราบขออภัยเพื่อนสมช.ด้วยนะคะ พอดีสามีกำลังอยู่ในโหมดเมามันส์ค่ะ หนูพิมพ์อย่างเดียวยังมึน........สงสารคนอ่านจัง 55555555555

tumauyai4x4tritonclup.com
05-08-2012, 22:45
เอาหล่ะค่ะแบบนี้ก็ไม่ต้องพากันออกทะเลละ
ร่อนหรือแถหรือรู้สึกว่าท้ายรถอยู่เหนือการควบคุมชั่วขณะเมื่อผ่านรอนเตี้ยๆต่อเนื่องบนผิวทาง...........ก่อนอื่นต้องขอโฟกัสไปที่ช๊อคอัพก่อนเลยค่ะซึ่งจำเลยร่วมกันมีทั้งหน้าและหลัง คืองี๊ค่ะเวลาที่เราผ่านรอนเตี้ยๆหรือหลุมตื้นๆด้วยความเร็วด้านหน้าซึ่งใช้สปริงเป็นตัวรับนน.จะคอยต้านแรงประทะที่ส่งขึ้นมาผ่านล้อหน้าและปีกนกเมื่อยุบก็ต้องมียืด ยุบเร็วยืดเร็วตัวรถก็รักษาระดับอยู่ได้แต่ถ้ายุบช้าก็กลายเป็นเด้งยืดช้าก๊กลายเป็นกระแทก ซึ่งกระบวนการพวกนี้เกิดขึ้นในช่วงเวลาอันสั้นมากและที่มากไปกว่านั้นการเต้นดังกล่าวเกิดขึ้นแบบไม่เท่ากันระหว่างซ้าย-ขวาตามสภาพถนนและความเร็วามี่เข้าประทะ อาการเต้นของช่วงล่างด้านหน้าจนส่งผลให้ควบคุมรถได้ยากจึงเกิดมาจากสมรรถนะยองช๊อคอัพไม่สามารถรองรับการดีดของสปริงได้ทัน ส่วนด้านหลังที่เป็นแบบคานแข็งรองรับน้ำหนักด้วยแหนบแผ่นซ้อน..........ลักษณะทางกายภาพของแหนบคือต้านการหดตัวด้วยคุณสมบัริความเป็นสปริง แหนบทีทำงานได้ดีต้องมีความโค้งพอที่จะรองรับนน.เมื่อเข้ามากดชั่วขณะและต้านด้วยการดีดกลับสู่ตำแหน่งเดิมได้ ดังนั้นความโค้งจึงสำคัญปัญหาที่พบเมื่อใช้ความเร็วผ่านรอนถนนเตี้ยๆหรือหลุมต่อเนื่องจนทำให้ท้ายเกิดอาการแถจนรู้สึกได้หรือร้ายหน่อยตรงสูญเสียการควบคุม นอกจากสมรรถนะของช๊อคอัพและระยะยุบยืดของแหนบ(รถที่ดัดแปลงช่วงล่างหรือรถที่ผ่านการใช้งานมามากจะชัดเจน) ก็จะมีอีกปัจจัยคือการเคลื่อนตัวของเพลาทั้งแนวดิ่งและแนวนอน กล่าวคือในระหว่างการเคลื่อนที่เพลาจะถูกแขวนอยึ่บนแหนบแผ่นซึ่งปลายด้านนึงของแหนบอยู่บนจุดหมุนที่ควบคุมตำแหน่งเอาไว้ แต่ปลายอีกด้านนึงเป็นแบบกึ่งอิสระ กล่าวคือเมื่อเพลาเคลื่อนที่ขึ้นลงเนื่องจากการประทะผิวถนนยองล้อแหนบจะยืดหดตัวโดยมีโตงเตงควบคุมความเป็นอิสระเอาไว้ เพลาเมื่อดูเผินๆจะคล้ายกับการเคลื่อนที่ของตุ้มนาฟิกาแต่ต่างกันตรงตุ้มนาฟิกาจะหมุนรอบแกนด้วยระยะเดียวแต่เพลาจะหมุนรอบแกน(หูแหนบหน้า)ในลักษตะยืดเข้าออกตลอดเวลา ทีนี้ลองมองภาพการเคลื่อนที่ของเพลาทั้งสองด้านแบบสามมิติดูค่ะ ยิ่งสภาพถนนต่างกันระหว่างซ้าย-ขวาลักษณะการเคลื่อนที่ดังกล่าว"จึงคล้ายกับการเต้นไปมาระหว่างปลายเพลาทั้งสองฝั่ง" ซึงหน้าสัมผัสของยางกับถนนมีผลโดยตรงกับการยึดเกาะถนนอย่างที่เรารู้ๆกันใช่มั๊ยคะ ลองนึกเล่นๆตามนะคะ หน้ายางทีแต่เดิมเคยเรียบสัมผัสถนนกลับถูกดึง(ยก)จนเหลือพื้นที่ไม่เท่าไหร่กับผิวถนนเนื่องจากการเคลื่อนที่ตามลักษณะเพลาแข็ง กระบวนการดังกล่าวเกิดขึ้นซ้ำๆอย่างรวดเร็วทั้งซ้ายและขวา การแถหรือร่อนจึงมาจากตรงนี้ ถ้าเราเนย้าไปควบคุมความ(กึ่ง)อิสระของเพลาเช่นบังคับให้มันขั้นลงเป็นแนวดิ่งอย่างเดียวโดยไม่ยอมให้ขยับเดินหน้าหรือถอยหลัง...ทำได้ไหม ทำได้ค่ะนั่นคือรูปแบบของระบบคานแข็งกึ่งอิสระรองรับน้ำหนักด้วยสปริงซึ่งประสิทธิภาพอาจแตกต่างกันแม้หน้าตาจะเหมือนกันเช่นปาร์เจโรสปอร์ตกับฟอร์จูนเนอร์เป็นต้น ฟุ้งไปไกลเลย55555 วิศวกรของมาสดา(ฟอร์ด)ก็เลยคิดว่าทำไงให้แหนบที่เต้นอยึ่แลเพลาที่ขยับตำแหน่งไปมาเนี่ยมันควบคุมได้บ้าง.....ก็เลยเป็นที่มาของเหล็กกันโคลง(สเตบิไลซ์เซอร์ บาร์)ใส่ไว้เพื่อคอยรั้งและดึงให้เพลาอีกข้างขยับตามหรือสร้างแรงกดให้ปลายเพลาอีกฝั่งนึงในทิศทางตรงกันข้ามนั่นเอง สำหรับคนไทยเราก็ใบ่ย่อยด้วยความช่างสังเกตุ....เอแบบนี้ลอกเอาอุปกรณ์ของระบบคานแข็งกึ่งอิสระมาใช้ได้มั๊ย โดยยังคงการรับน้ำหนักด้วยแหนบแผ่นเหมือนเดิม นั่นคือจุดเริ่มต้นของ"ทวินอาร์ม) แต่เดิมระบบคานแข็งกึ่งอิสระจะประกอบไปด้วย"ทอร์คอาร์ม" "สเตบอไลซ์เซอร์บาร์(เหล็กกันโคลง)" "ปังอาร์ร๊อด" ซึ่งทั้งสามตัวมีการนำมาใช้ในระบบแหนบทั้งหมด.....ทอร์คอาร์มหลักการทำงานก็พยายามรักษาการเคลื่อนที่รอบจุดหมุนเอาไว้ซึ่งในระบบแหนบก็จะมีแหนบและหึแหนบด้านฟกน้าทำหน้าที่อยู่แล้ว ติดตั้งซ้ำซ้อนเข้าไปจะทำงานขัดกันซะปล่าวๆ อาจารย์ตู่เลยจับกลับหัวมาไว้ด้านหลังซะเลยดัดแปลงจุดยึดด้านหลังซะใฟกม่โดยกำหนดองศาตามโตงเตงจังกลายมาเป็นแทรคชั่นบาร์(อันนี้สามีเรียกนะคะ)สังเกตุได้รถจากสำนักนี้เค้นช่วงล่างเดิมๆไม่เกิน3นิ้วโดดปุ๊บไม่มีเป่..เพียงแต่วต้องแลกกับความกระด้างบ้างเนื่องจากแหนบให้ตัวไม่อิสระ ส่วน"ปังอาร์ร๊อด"ที่มีสภาพเหมือนไม้ค้ำยันระหว่างเพลาด้านนึงกับแคสซี พอจะนึกภาพออกมั๊ยเอ่ย ก็เลยเป็นที่มาของเหล็กแท่งๆที่มีสปริงและช๊อคคอยต้านเอาไว้เอามาริดทแยงมุมแบบเดียวกันนั่นแหละค่ะ.........รวมๆที่ฟุ้งมาซะไกลไม่ใช่อะไรหรอกนะคะ สามี(คนต้นเรื่อง)พยายามจะจำลองการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกันให้เห็นด้วยตัวหนังสือ(พิมพ์จนมึน)เพื่อที่เวลาจะเสริมสมรรถนะอะไรเข้าไปจะได้ไม่หลงสมางลงทุ่งออกทะเล. ?..................ปัญหาของจขกท.ก็ไม่มีไรมากหรอกค่ะ ถ้าชอบหรือพอใจยางขนาดนี้(หรือชุดนี้)การแก้ปัญหาหรือทุเลาปัญหาก็มีไม่มากและไม่ยุ่งยากค่ะ
1. ตรวจเช๊คลมยางและตำแหน่งของช่วงล่างด้วยการปรับตั้งศูนย์ล้อเมื่อพบว่านยับขี่ผิดปกติหรือได้ระยะเวลา
2. หาช๊อคดีที่มีค่าคอมเพรสและรีบราวน์ที่มากกว่าเดิมเปลี่ยนแทนของเดิมติดรถ
เพียงแค่นี้ก่อนแล้วลองดูความพึงพอใจระหว่างใช้งาน ซึ่งหนทางยังมีอีกยาวค่ะ ไม่ว่าจะยกขึ้นอีกหน่อย เปลี่ยนแมกซ์เปลี่ยนยาง ซึ่งปัจจัยแวดล้อมพวกนี้มีผลโดยตรงทั้งสิ้นกับการ"ทำรถ"............ขอให้มีความสุขกับการ"ทำ"และ"ใช้รถ"นะคะ ขอบคุณที่ทนอ่านมาตั้งนานค่ะ5555555

เจ๊ เค้าจัดเต็มเลยครับ จัดหนัก คริๆๆ

khun
05-08-2012, 22:52
ขอบคุณสำหรับเกร็ดความรู้คับ อ่านยังไม่ทันจบตาลายก่อนซะงั้น คร้าบบบบ..

coppy42
05-08-2012, 23:03
กราบขออภัยเพื่อนสมช.ด้วยนะคะ พอดีสามีกำลังอยู่ในโหมดเมามันส์ค่ะ หนูพิมพ์อย่างเดียวยังมึน........สงสารคนอ่านจัง 55555555555
เอิ๊กๆๆเจ้าของคอลั่มน์ลุงแฉ่งแห่งนิตยสารคมชัดๆจัดหนัก นั่งซดเฉาก้วยสั่งเลขากดแป้นทะลุเลยมั้งเนี่ย ฮ่าๆๆๆ

youjea
05-08-2012, 23:04
กราบขออภัยเพื่อนสมช.ด้วยนะคะ พอดีสามีกำลังอยู่ในโหมดเมามันส์ค่ะ หนูพิมพ์อย่างเดียวยังมึน........สงสารคนอ่านจัง 55555555555

ต้องการการเคาะบรรทัดมาก ๆ เลยครับ :63:

PJ_AIM
05-08-2012, 23:40
ข้อมูลดีครับน้า like เลยยยน้า..

DN-TT19
08-08-2012, 12:31
ขอบคุณสำหรับข้อมูลคาราวะ 2 จอกเลยครับในความขยันพิมพ์

อ่านแล้วได้ทั้งความรู้ และตาลายไปพร้อมๆ กัน @_@"

MiNi_XXL
08-08-2012, 12:54
ผมใช้ Chorme พอพิมพ์ยาว ๆ เคาะเว้นบรรทัด จัดเรียงหน้าเรยบร้อย กดส่ง มันรวมติดกันเป็นพรืดเลย ไม่รู้ว่าเบราเซอทร์ตัวอื่น อย่าง IE และ Firefox เป็นด้วยหรือป่าว ทำให้การตอบกระทู้ยาว ๆ อ่านแล้วลายตาครับ

Sinplug
08-08-2012, 15:40
เข้ามาจดครับเกือบตาลาย